วันเสาร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2554

คลื่นกลแบบต่างๆ

คลื่นกลที่เกิดจากการสั้น เช่น การแกว่งของลูกตุ้ม ความถี่ของคลื่นไม่ขึ้นอยู่กับความเร็ว(v)หรือขนาดมุม( )ของการแกว่ง แต่อยู่กับความยาวของเชือก(l)หรือแขนที่ตึงลูกต้มนั้นไว้ ดังสมการ

 

การแกว่ง แต่ไม่มีลูกตุ้ม

ความถี่นี้เรียกว่า ความถี่ธรรมชาติ เช่นเดียวกับกรณีของสปริง

 k คือ ค่งคงตัวสปริง(N/m), m คือ มวลของวัตถุ(Kg)
หากพิจารณากราฟการกระจัด(S)กับเวลา(t)ของคลื่นกลจะมีลักษณะเป็นการเคลื่อนที่ แบบฮามอนิกอย่างง่าย ดังนั้นการกระจัดตามแนวตั้งมีความสัมพันธ์ดังสมการของกราฟฟังก์ชันไซน์ เมื่อคลื่นนั้น
เรเดียน แอมพิจูด A เมตร หรือ ความเร็ว w red/s
S = Asin หรือ S = Asinwt
คลื่นแบ่งตามการสั่นของตัวกลางกับทิศทางการแผ่คลื่นได้ 2 ชนิดคือ
1. คลื่นตามขวาง การสั่นของตัวลางมีทิศตรงข้ามกับการแผ่คลื่น
2. คลื่นตามยาว การสั่นของตัวลางมีทิศเดียวกันกับการแผ่คลื่น
ถ้าแบ่งตามความต่อเนื่องของแหล่งกำเนิดได้สองแบบคือ
1. คลื่นดล คลื่นมีการรบกวน่ระยะเวลาหนึ่งทำให้เกิดลูกคลื่นไม่กี่ลูก
2. คลื่นต่อเนี่อง คลื่นมีการรบกวนอยู่ตลอดเวลา
ถ้าคลื่นสองคลื่นมีแอมพลิจูดเท่ากันและความถี่เดียวกัน แต่เคลื่อนที่ในทิศทางตรงกันข้าม จะมีบางจุดในตัวกลางที่อนุภาคมีแอมพลิจูดสูงสุด และมีบางจุดซึ่งอนุภาคตัวกลางมีการกระจัดต่ำสุด คลื่นรวมที่มีลักษณะดังกล่าว เรียกว่า คลื่นนิ่ง
1.&2. คลื่นตามขวาง 3. คลื่นตามยาว
ลักษณะของคลื่นนี่ง จุดสีแดงคือ บัพ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น